Category: After Talks

ล้านนานอก(ก)รอบ

ล้านนา นอก(ก)รอบ: อ่านประวัติศาสตร์ล้านนาผ่านแว่นตาคู่ใหม่ ชวนคุยโดย – อาจารย์วิชญา มาแก้วอาจารย์ประจำภาควิชาวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาราชภัฏเชียงใหม่ – คุณเฉลิมวุฒิ ต๊ะคำมีนักวิชาการอิสระด้านล้านนาคดีศึกษา – อาจารย์ มนวัธน์ พรหมรัตน์อาจารย์ประจำสำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในวันเสาร์ที่ 30 มีนาคม 2019 อ.มนวัธน์ : สวัสดีท่านผู้ฟังและสวัสดีผู้ชมไลฟ์ที่กำลังชมตอนนี้และจะชมต่อไปในอนาคตด้วย วันนี้หัวข้อล้านนานอกรอบ หรือ นอกกรอบ

โครงการ “แพร่ handmade” การระดมความคิดกับเมืองแพร่ที่อยากเห็นในอีก 10 ปีข้างหน้า

ชวนพูดคุยถึงอนาคตและการสร้างความเป็นแพร่ที่อยากเห็นด้วยมือเรา ผ่านกระบวนการระดมความคิดด้วยโจทย์ “เราอย่างเห็นเมืองแพร่ในอนาคตอีก 10 ปีข้างหน้าเป็นอย่างไร” กระแสความสนใจของคนรุ่นใหม่ที่อยากกลับมาพัฒนาบ้านเกิดของตัวเอง เป็นสิ่งที่สังคมไทยให้ความสนใจในปัจจุบัน เมื่อความเจริญต่างๆเริ่มกระจายตัวไปสู่จังหวัดเล็กๆ มากขึ้นกว่าในอดีต เทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัตน์เริ่มทำให้การใช้ชีวิตนั้นง่ายขึ้น บวกกับการใช้ชีวิตในเมืองหลวงทำให้ผู้คนเหนื่อยล้า สูบพลังสร้างสรรค์ของผู้คนไปในแต่ละวัน ทางเลือกที่จะออกจากเมืองหลวง เพื่อริเริ่มการพัฒนาบ้านเกิดของตนเอง เพื่อให้การใช้ชีวิตเรียบง่ายอย่างยั่งยืนได้ในอนาคต หนึ่งในเป้าหมายของเมืองที่มีศักยภาพในการพัฒนาตัวเองได้อย่างเข้มแข็งได้นั้นคือจังหวัดแพร่ แห่งนี้ แต่ในอีกด้านหนึ่งการกลับมาบ้านเกิดอาจเป็นโจทย์ที่ยาก เพราะเมืองแพร่ยังคงเผชิญปัญหาที่เด็กวัยรุ่นจำนวนไม่น้อย เมื่อถึงวัยที่ก้าวเข้าสู่การเรียนระดับอุดมศึกษา หรือวัยทำงาน มักเลือกที่จะเดินทาง มุ่งสู่เมืองหลวงอย่างกรุงเทพ หรือจังหวัดหัวเมืองอย่างเชียงใหม่ เพื่อเรียนต่อหรือหางานทำ

“ก่อนจะก้าว”สู่ความหวังในวันที่ไทยต้องเดินไปต่อโดยคนรุ่นใหม่ – ประจักษ์ ก้องกีรติ : จาก workshop หนาวนี้มีแชร์

“หนาวนี้มีแชร์” คือค่ายกิจกรรมเวิร์กช็อปต้อนรับลมหนาวในเดือนสุดท้ายของปีที่ Book Re:public, เครือข่ายนักกิจกรรมภาคเหนือ(CAN) และคณะละครมะขามป้อม ร่วมกันจัดขึ้นเป็นเวลา 2 วัน 1 คืน ที่มะขามป้อม อาร์ต สเปซ ในวันที่ 10 – 11 ธันวาคม 2560 ซึ่งการเปิดงาน อาจารย์ประจักษ์ ก้องกีรติ เป็นผู้กล่าวปาฐกถาเปิดกิจกรรมหนาวนี้มีแชร์ เพื่อปลุกกำลังใจและความหวังที่จะเห็นพลังของคนรุ่นใหม่ในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในอนาคต โดยใช้ชื่อช่วงการกล่าวเปิดกิจกรรมนี้ว่า “ก่อนจะก้าว”

เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่5]

เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนจบ]
ช่วงที่ 5 หัวข้อ “อันเนื่องมาแต่ “ชาติ…ยอดรัก”” โดย อาจารย์เกษียร เตชะพีระ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่4]

งานเสวนา ชาติที่เรา(จะ)รัก 79 ปี นิธิ เอียวศรีวงศ์ : วันที่ 25 พฤษภาคม 2019
ช่วงที่ 4 หัวข้อ “ประชาธิปไตยอันมีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ”
โดย อาจารย์เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่3]

งานเสวนา ชาติที่เรา(จะ)รัก 79 ปี นิธิ เอียวศรีวงศ์ : วันที่ 25 พฤษภาคม 2019
ช่วงที่ 3 หัวข้อ “ชาติที่เราจะรักชาติที่เราจะรัก : ผ่านการมองประวัติศาสตร์ชาติจีน”
โดย อาจารย์วาสนา วงศ์สุรวัฒน์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่2]

งานเสวนา ชาติที่เรา(จะ)รัก 79 ปี นิธิ เอียวศรีวงศ์ : วันที่ 25 พฤษภาคม 2019

ช่วงที่ 2 หัวข้อ “ชาตินิยมกับปรากฎการณ์ Brexit”
โดย อาจารย์ภาณุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่1]

งานเสวนา ชาติที่เรา(จะ)รัก 79 ปี นิธิ เอียวศรีวงศ์ : วันที่ 25 พฤษภาคม 2019
ช่วงที่ 1 หัวข้อ “วิธีการบอก(ไม่)รักชาติบนtwitter” โดย อาจารย์พศุตม์ ลาศุขะ ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่