Tag: feature

เมื่อความหวังฝากไว้กับการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ของคนรุ่นใหม่ : เอิร์ก Human ร้าย 3

ในช่วงเวลานี้ ประเด็นสถานการณ์ทางการเมืองไทยในปี 2563 ปฎิเสธไม่ได้เลยว่า เยาวชนและคนรุ่นใหม่เข้ามามีบทบาททางการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงทัศนคติทางการเมืองเป็นอย่างมากกว่าแต่เดิมที่เยาวชน คนรุ่นใหม่เกิดความกลัวและรู้สึกว่าการเมืองนั้นเป็นเรื่องไกลตัว แต่ในเวลานี้เวทีการแสดงออกของเยาวชนเปิดกว้างเป็นอย่างมากและสิ่งที่น่าสนใจคือการหากลวิธีในการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ที่น่าจับตามอง บทสัมภาษณ์ พิเศษของเหล่าสมาชิก Humanร้าย ตั้งแต่รุ่นที่1 จนถึงรุ่นที่3 ในประเด็นที่พวกเขาต้องการแสดงออกและเป็นอีกหนึ่งกระบอกเสียงของคนรุ่นใหม่ในการมองปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบัน ซึ่งเป็นอีกหนึ่งแรงผลักดันสำคัญของสังคมที่ต้องการเห็นการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น “เอิร์ก” นักศึกษาจากคณะสื่อสารมวลชน ปีที่2 หนึ่งในสมาชิก Humanร้ายรุ่นที่ 3 ที่ฝากผลงานการวิพากษ์วิจารณ์ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับคนตาบอดในสังคมที่คนพิการถูกละเลยจากรัฐ “เอิร์ก” นักศึกษาจากคณะสื่อสารมวลชน ปีที่2 หนึ่งในสมาชิก

โครงการ “แพร่ handmade” การระดมความคิดกับเมืองแพร่ที่อยากเห็นในอีก 10 ปีข้างหน้า

ชวนพูดคุยถึงอนาคตและการสร้างความเป็นแพร่ที่อยากเห็นด้วยมือเรา ผ่านกระบวนการระดมความคิดด้วยโจทย์ “เราอย่างเห็นเมืองแพร่ในอนาคตอีก 10 ปีข้างหน้าเป็นอย่างไร” กระแสความสนใจของคนรุ่นใหม่ที่อยากกลับมาพัฒนาบ้านเกิดของตัวเอง เป็นสิ่งที่สังคมไทยให้ความสนใจในปัจจุบัน เมื่อความเจริญต่างๆเริ่มกระจายตัวไปสู่จังหวัดเล็กๆ มากขึ้นกว่าในอดีต เทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัตน์เริ่มทำให้การใช้ชีวิตนั้นง่ายขึ้น บวกกับการใช้ชีวิตในเมืองหลวงทำให้ผู้คนเหนื่อยล้า สูบพลังสร้างสรรค์ของผู้คนไปในแต่ละวัน ทางเลือกที่จะออกจากเมืองหลวง เพื่อริเริ่มการพัฒนาบ้านเกิดของตนเอง เพื่อให้การใช้ชีวิตเรียบง่ายอย่างยั่งยืนได้ในอนาคต หนึ่งในเป้าหมายของเมืองที่มีศักยภาพในการพัฒนาตัวเองได้อย่างเข้มแข็งได้นั้นคือจังหวัดแพร่ แห่งนี้ แต่ในอีกด้านหนึ่งการกลับมาบ้านเกิดอาจเป็นโจทย์ที่ยาก เพราะเมืองแพร่ยังคงเผชิญปัญหาที่เด็กวัยรุ่นจำนวนไม่น้อย เมื่อถึงวัยที่ก้าวเข้าสู่การเรียนระดับอุดมศึกษา หรือวัยทำงาน มักเลือกที่จะเดินทาง มุ่งสู่เมืองหลวงอย่างกรุงเทพ หรือจังหวัดหัวเมืองอย่างเชียงใหม่ เพื่อเรียนต่อหรือหางานทำ

เปิดห้องเรียน Human ร้าย Human Wrong : ความทรงจำ.pain point.ความรู้ สู่งานเขียน

โตมร ศุขปรีชา และ workshop การเขียนด้วยการใช้ผัสสะ รวมถึง pain point ส่วนบุคคล ดึงความบอบช้ำออกมาเพื่อเปลี่ยนมันให้เป็นรูปแบบเขียนที่หลากหลาย คราฟต์ตัวอักษรอย่างไรท่ามกลางยุคสมัยที่มิลเลนเนียลส์ต้องทำงานหนัก(ทั้งทางกายและทางความคิด) หากต้องเขียน สิ่งที่เขียนจะช่วยชีวิตเราไว้ในแง่สุนทรียศาสตร์และในแง่การเรียนรู้ตัวเองได้อย่างไร ไปไกลถึงการพลังในการเขียนเพื่อวิพากษ์ ใส่เสน่ห์ ปรุงยาเพื่อพาให้ผู้อ่านเกิดการสั่นไหวทางความคิด

เปิดห้องเรียน Human ร้าย Human Wrong : Activist art ศิลปะแห่งการต่อสู้- ไม่มีอะไรช่วยคนดูศิลปะได้นอกจากการดู

Activist art ศิลปะแห่งการต่อสู้- ไม่มีอะไรช่วยคนดูศิลปะได้นอกจากการดู Human ร้าย, Human Wrong 3  workshop ครั้งที่ 2 : ความรู้พื้นฐานศิลปะกับสิทธิมนุษยชน ซาเรียใช้นิ้วมือวาดภาพเหล่านั้น บางภาพมีความยาวมากกว่า 10 ฟุตเพื่อสื่อสารการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทั้งความโกลาหลและความนิ่งสงบของภูมิทัศน์ เพื่อให้คนดูเกิดอารมณ์ความรู้สึกแม้ว่าจะไม่เคยเดินทางไปยังสถานที่เหล่านั้นเลย ภาพวาดของเธอจึงขับเน้นความงามมากกว่าความหายนะที่กำลังจะเกิดขึ้นกับโลกเพื่อสร้างความรู้สึกอยากปกป้อง สุนทรียศาสตร์จากศิลปะสามารถสร้างพลังที่จะทำให้เรามองเห็นซึ่งกันและกันแม้ว่ารูปแบบของมันจะหลากหลายไปตามบริบทสังคมและยุคสมัย งาน activist ที่ใช้กระบวนทางศิลปะเป็นสื่อกับงานศิลปะที่สื่อสารประเด็นแบบ activist

เปิดห้องเรียน Human ร้าย Human Wrong : ศิลปะกับสิทธิมนุษยชนเป็นเรื่องเดียวกันได้อย่างไร

“ศิลปะยังมีน้ำยาอยู่ไหม”, “ถ้าคุณทำงานศิลปะแต่คนดูไม่รู้เรื่อง ประเด็นสังคมที่ต้องการเรียกร้องมันจะมีความหมายอะไรไหม”, “การที่ศิลปินเอาเรื่องราวของผู้ที่อยู่ท่ามกลางความขัดแย้งมาทำงานเป็นการฉกฉวยผลประโยชน์หรือเปล่า”

เปิดห้องเรียน Human ร้าย : 2 วัน 1 คืนที่หมู่บ้านปกาเกอะญอ หนองเต่า และการทำความเข้าใจความเป็น “เรา” ทีละน้อย

ความเป็นมนุษย์, สวนคนขี้เกียจ, ป่าชุมชน, สิทธิมนุษยชน, ปกาเกอะญอนักเล่าเรื่อง คือคีย์เวิร์ดคร่าวๆ ของการลงพื้นที่ครั้งแรกของโครงการ Human ร้าย Human Wrong ปีที่ 3 ในคอนเซ็บเรื่องความเป็นมนุษย์

“ก่อนจะก้าว”สู่ความหวังในวันที่ไทยต้องเดินไปต่อโดยคนรุ่นใหม่ – ประจักษ์ ก้องกีรติ : จาก workshop หนาวนี้มีแชร์

“หนาวนี้มีแชร์” คือค่ายกิจกรรมเวิร์กช็อปต้อนรับลมหนาวในเดือนสุดท้ายของปีที่ Book Re:public, เครือข่ายนักกิจกรรมภาคเหนือ(CAN) และคณะละครมะขามป้อม ร่วมกันจัดขึ้นเป็นเวลา 2 วัน 1 คืน ที่มะขามป้อม อาร์ต สเปซ ในวันที่ 10 – 11 ธันวาคม 2560 ซึ่งการเปิดงาน อาจารย์ประจักษ์ ก้องกีรติ เป็นผู้กล่าวปาฐกถาเปิดกิจกรรมหนาวนี้มีแชร์ เพื่อปลุกกำลังใจและความหวังที่จะเห็นพลังของคนรุ่นใหม่ในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในอนาคต โดยใช้ชื่อช่วงการกล่าวเปิดกิจกรรมนี้ว่า “ก่อนจะก้าว”

เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่5]

เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนจบ]
ช่วงที่ 5 หัวข้อ “อันเนื่องมาแต่ “ชาติ…ยอดรัก”” โดย อาจารย์เกษียร เตชะพีระ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่4]

งานเสวนา ชาติที่เรา(จะ)รัก 79 ปี นิธิ เอียวศรีวงศ์ : วันที่ 25 พฤษภาคม 2019
ช่วงที่ 4 หัวข้อ “ประชาธิปไตยอันมีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ”
โดย อาจารย์เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่3]

งานเสวนา ชาติที่เรา(จะ)รัก 79 ปี นิธิ เอียวศรีวงศ์ : วันที่ 25 พฤษภาคม 2019
ช่วงที่ 3 หัวข้อ “ชาติที่เราจะรักชาติที่เราจะรัก : ผ่านการมองประวัติศาสตร์ชาติจีน”
โดย อาจารย์วาสนา วงศ์สุรวัฒน์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย